ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

การรักษาหมอนรองกระดูกสันหลังทับเส้นประสาทก่อนการตัดสินใจผ่าตัด

อาการของหมอนรองกระดูกสันหลังทับเส้นประสาท

m.me/bonehealthcare

สัญญาณเตือนอาการหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท

ที่มักเป็นกันบ่อยคืออาการกระดูกสันหลังทับเส้นบริเวณคอ และอาการกระดูกทับเส้นบริเวณหลังส่วนล่าง


โรคหมอนรองกระดูกสันหลังทับเส้นประสาท คือการที่หมอนรองกระดูกของเราปลิ้น โป่งออกมาจากแนวกระดูกสันหลังจนไปเบียดทับกับเส้นประสาทรอบๆแนวกระดูกสันหลัง
หรือเยื่อหุ้มหมอนรองกระดูกสันหลังอาจฉีกขาดจนทำให้ของเหลวลักษณะคล้ายเจลที่อยู่ภายในไปกดทับเส้นประสาทโดยรอบแนวกระดูกสันหลังนั่นเอง 

หมอนรองกระดูกสันหลังเสื่อม (กระดูกทับเส้น) มีสาเหตุเกิดมาจาก 3 ประการที่สำคัญก็คือ 


https://www.facebook.com/dboonshopping/messages/

https://www.facebook.com/dboonshopping/messages/
การยกของหนัก 

m.me/bonehealthcare
สาเหตุของอาการเกิดจากการที่ หมอนรองกระดูกปลิ้นหรือแตกจนของเหลวภายในไปเบียดทับเส้นประสาทบริเวณหลังส่วนล่างหรือบริเวณกระดูกสันหลังชิ้นที่ L3 L4 L5 S1 ซึ่งส่งผลต่อระบบประสาทส่วนเอวไปถึงขา เริ่มแรกผู้ป่วยมักจะมีอาการปวดหลังบริเวณเอว เป็น ๆ หาย ๆ มาก่อน ซึ่งอาการดังกล่าวจะเป็นมากเวลาทำงาน เช่นยืน ก้มเงย หรือนั่งนาน ๆ และจะดีขึ้นเมื่อได้นอนพัก ต่อมาจึงปรากฏอาการสำคัญที่บ่งบอกว่าหมอนรองกระดูกสันหลังเกิดโป่งขึ้นมากดทับเส้นประสาทคืออาการปวดหลังรุนแรงอย่างเฉียบพลัน และมีอาการปวดร้าวลงมาที่ขา น่อง ตาตุ่มหรือเท้า ร่วมกับมีอาการชาขาหรือเท้าด้วย


m.me/bonehealthcare
สาเหตุของอาการเกิดจากการที่ หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทบริเวณกระดูกสันหลังชิ้นที่ C3 – C7 ซึ่งส่งผลต่อระบบประสาทส่วนแขน ซึ่งจะทำให้เกิดอาการชาบริเวณฝ่ามือเริ่มจากปลายนิ้วหรืออาการปวดร้าวที่บริเวณแขน อาจเป็นข้างใดข้างหนึ่ง อาการร่วมของโรคหมอนรองกระดูกคอทับเส้นประสาทคือ การปวดคอ ปวดเมื่อยบริเวณสะบักเรื้อรังและการไม่สามารถเคลื่อนไหวคอได้อย่างอิสระ

ผู้ป่วยจะมีอาการปวดหลัง ที่เอวระดับเข็มขัดและอาจร้าวลงไปถึงบริเวณด้านข้างของสะโพก ในบางรายที่มีอาการเฉียบพลัน เช่น ไปยกของหนักมีอาการเจ็บหลังร้าวลงขา ข้างใดข้างหนึ่งทันที แสดงว่า เกิดปริแตกหรือโป่งยื่นของหมอนรองกระดูก ทำให้มีส่วนเนื้อในของหมอนรองกระดูก(Nucleus) โป่งหรือทะลักออกมาไปกดทับเส้นประสาทที่ไปขา บางรายจะมีอาการชาและทำให้เกิดอาการปวดร้าวลงขา อ่อนแรงของเท้า ทำให้เดินลำบาก ผู้ป่วยลักษณะนี้จะมีภาวะที่เรียกว่า “Acute Herniated Disc Syndrome” ซึ่งพบได้บ่อยในกลุ่มคนวัยทำงาน


ถ้าอาการยังไม่หนักถึงขนาดต้องรีบผ่าตัดโดยด่วน แนวทางการรักษาที่แพร่หลายวิธีหนึ่งในการรักษาโรคที่ก่อให้เกิดอาการปวดหลัง ปวดเอว เรื้อรังอันเนื่องมาจากหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทก็คือ รับประทานผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่มีส่วนประกอบ จากคอลลาเจนปลาทะเลน้ำลึก, คอนดรอยตินจากกระดูกอ่อนปลาฉลาม เป็นต้น



m.me/bonehealthcare

เช่น ผลิตภัณฑ์ เสริมอาหาร

    "D-BOONE"   ⇒⇨⇨⇨⇨⇨



                       ทำไมหมอนรองกระดูกถึงปลิ้นได้

อาการหมอนรองกระดูกสันหลังทับเส้นประสาท มักเริ่มพบในวัยหนุ่มสาวที่เป็นวัยทำงาน ช่วงอายุ 20-40 ปี ซึ่งสาเหตุเกิดจากการเสื่อมของหมอนรองกระดูกสันหลังตามอายุและการใช้งานตามปรกติซึ่งถูกกดทับจากน้ำหนักร่างกายและการทำกิจวัตรประจำวันของเรา ทำให้หมอนรองกระดูกมีอาการอ่อนแอจนปลิ้นออก หรือเส้นใยที่เป็นผนังหุ้มเนื้อหมอนรองกระดูกฉีกขาดบางส่วนอยู่ก่อน
บางรายปลิ้นออกมาก ถึงแม้ยังไม่แตกแต่ก็ไปเบียดทับกับเส้นประสาทโดยรอบจนมีอาการปวดอย่างเฉียบพลันและเรื้อรัง
หรือบางรายเนื่องจากหมอนรองกระดูกมีความอ่อนแออยู่ก่อนแล้ว ต่อมาเมื่อมีแรงมากระทำต่อกระดูกสันหลังอย่างรวดเร็ว เช่นก้มหลัง ยกของหนัก จะทำให้เกิดความดันในหมอนรองกระดูกสันหลังเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้เนื้อในของหมอนรองกระดูกสันหลัง เกิดดันและโป่งออกมาตามรอยฉีกขาดของผนังหุ้มหมอนรองกระดูก และกดทับต่อเส้นประสาทที่อยู่ใกล้เคียง

https://line.me/R/ti/p/%40ako9203g
m.me/bonehealthcare














m.me/bonehealthcare










ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

โรคเกี่ยวกับกระดูกและข้อ

โครงสร้างของกระดูกมนุษย์ โครงกระดูกมนุษย์   ประกอบไปด้วย กระดูก ชิ้นต่างๆในร่างกาย ซึ่งเชื่อมต่อกันด้วยโครงสร้างของ ข้อต่อ   เอ็น   กล้ามเนื้อ   กระดูกอ่อน   และ อวัยวะ ต่างๆ กระดูกในมนุษย์ผู้ใหญ่มีประมาณ 206 ชิ้น และคิดเป็นประมาณ 20 เปอร์เซนต์ของน้ำหนักร่างกาย อย่างไรก็ดี จำนวนของกระดูกอาจแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล ทารกแรกเกิดจะมีกระดูกจำนวนประมาณ 300 ชิ้น ซึ่งต่อมากระดูกบางชิ้นจะมีการเชื่อมรวมกันระหว่างการเจริญเติบโต เช่นส่วนกระเบนเหน็บและส่วนก้นกบของ กระดูกสันหลัง   นอกจากนี้ในทารกแรกเกิดยังมีโครงสร้างของกระดูกอ่อนอยู่มาก เพื่อให้มีการสร้างโครงสร้างของกระดูกระหว่างการเจริญเติบโต และจะมีการพัฒนาไปเป็นกระดูกทั้งหมดเมื่อสิ้นสุดช่วง วัยรุ่น กระดูกจะติดต่อกับกระดูกอีกชิ้น และประกอบเข้าด้วยกันเป็นโครงกระดูกด้วยเอ็นและกล้ามเนื้อเป็นส่วนใหญ่ ยกเว้นใน กระดูกโคนลิ้น   (Hyoid bone) ซึ่งเป็นกระดูกที่ไม่ติดต่อกับกระดูกชิ้นอื่นๆโดยตรง แต่จะยึดไว้ในบริเวณส่วนบนของ คอหอย ด้วยเอ็นและกล้ามเนื้อใกล้เคียง กระดูกชิ้นที่ใหญ่ที่สุดในมนุษย์คือ กระดูกต้นขา   (Femur) ในขณะที่กระดูกชิ้นเล็กที่ส

โรคระบบกระดูกกล้ามเนื้อ

ติดต่อคลิ๊กที่นี้  ศูนย์ดูแลโรคเข่าเสื่อม เก๊าส์ กระดูกทับเส้นประสาท โรคระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ ⇉โรคกระดูกพรุน             เป็นภาวะที่ร่างกายขาดสารสำคัญชนิดหนึ่งที่เรียกว่า"แคลเซียม"ในกระดูกลดลง ร่วมกับความเสื่อมของเนื้อเยื่อที่ประกอบกันเป็นโครงสร้างภายในกระดูก มวลกระดูกหนาแน่นลอลงและเปราะบางแตกหักง่าย บริเวณที่พบการแตกหักของกระดูกได้แก่ ข้อมือ แขน ขา และสันหลัง           โรคนี้สามารถป้องกันได้โดยการมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่ดี เช่น การรับประทานอาหารที่ให้แคลเซียมสูง(ปลาเล็ก ปลาน้อย กุ้งแห้ง) ออกกำลังกายเป็นประจำหรืออย่างน้อยสัปดาร์ละ2-3ครั้ง ออกมารับแสงแดดอ่อนๆในตอนเช้าเป็นประจำ ไม่สูบบุหรี่ ไม่ทานสุราจัด เป็นต้น ⇨ ปรึกษาปัญหากระดูกและข้อคลิ๊กที่นี้  m.me/bonehealthcare สาเหตุ            กระดูกประกอบไปด้วยเนื้อเยื่อคอลลเจน โปรตีน และแคลเซียม โดยมีแคล เซียมฟอตเฟสเป็นตัวทำให้กระดูกแข็งแรง ทนต่อแรงดึงรั้ง           กระดูกมีการสลายตัวอยู่ตลอดเวลา กล่าวคือในขณะมีการสร้างกระดูกก็มีการสลายแคลเซียมในเนื้อกระดูกออกมาในเลือดและถูกขับออกทางปัส

อาการปวด ที่เป็นง่ายแต่หายยาก

เริ่มต้นดูแลตัวเองเสียแต่วันนี้ ก่อนที่จะสายเกินไป อาการที่เป็นง่าย แต่หายยาก ปัจจัยเสี่ยงอาการปวดร้าวสะโพกลงขา 1.  หมอนรองกระดูกเคลื่อน และ หมอนรองกระดูกแตกทับเส้นประสาท  เป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุดของอาการปวด สะโพกร้าวลงขา ซึ่งมีอาการปวดที่รุนแรงมาก 2. กระดูกสันหลังที่มีเส้นประสาทไขสันหลังตีบ หรือแคบลง พบมากในผู้สูงอายุ เนื่องจากในขณะที่เรามีอายุเพิ่ม มากขึ้น  กระดูกจะมีการเสื่อมสภาพตามวัย ทำให้กระดูกตีบ และแคบ สร้างแรงกดดันต่อเส้นประสาท  เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิด อาการปวดสะโพกร้าวลงขา โดยเฉพาะเมื่อนั่งนานๆ นั่งหลังค่อมหลังงอ จะทำให้แรงกด ต่อเส้นประสาทเพิ่มขึ้นมา 3.  กระดูกสันหลังเคลื่อน  (Spondylolisthesis) กระดูกสันหลังชิ้นใดชิ้นหนึ่งมีการเคลื่อนไปข้างหน้า หรือข้างหลัง มากกว่ากระดูกสันหลังชิ้นอื่นๆ ทำให้เกิดความดันในเส้นประสาท 4.   เส้นประสาทมีการยึด หรือรั้ง 5. กล้ามเนื้อสะโพกหนีบเส้นประสาท (Piriformis syndrome) หรือ กลุ่มอาการ กล้ามเนื้อสะโพกอักเสบเรื้อรัง ทำให้เส้นประสาทติดอยู่ลึงลงไปในสะโพก ทำให้เกิดอาการปวด 6.  สาเหตุอื่นๆ เช่น  ข้อเข่าเสื่อม  กระดูกหักที่เกิ