ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

โรคเกี่ยวกับกระดูกและข้อ

โครงสร้างของกระดูกมนุษย์

m.me/bonehealthcare


โครงกระดูกมนุษย์ 

ประกอบไปด้วยกระดูกชิ้นต่างๆในร่างกาย ซึ่งเชื่อมต่อกันด้วยโครงสร้างของข้อต่อ เอ็น กล้ามเนื้อ กระดูกอ่อน และอวัยวะต่างๆ กระดูกในมนุษย์ผู้ใหญ่มีประมาณ 206 ชิ้น และคิดเป็นประมาณ 20 เปอร์เซนต์ของน้ำหนักร่างกาย อย่างไรก็ดี จำนวนของกระดูกอาจแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล ทารกแรกเกิดจะมีกระดูกจำนวนประมาณ 300 ชิ้น ซึ่งต่อมากระดูกบางชิ้นจะมีการเชื่อมรวมกันระหว่างการเจริญเติบโต เช่นส่วนกระเบนเหน็บและส่วนก้นกบของกระดูกสันหลัง นอกจากนี้ในทารกแรกเกิดยังมีโครงสร้างของกระดูกอ่อนอยู่มาก เพื่อให้มีการสร้างโครงสร้างของกระดูกระหว่างการเจริญเติบโต และจะมีการพัฒนาไปเป็นกระดูกทั้งหมดเมื่อสิ้นสุดช่วงวัยรุ่น

กระดูกจะติดต่อกับกระดูกอีกชิ้น และประกอบเข้าด้วยกันเป็นโครงกระดูกด้วยเอ็นและกล้ามเนื้อเป็นส่วนใหญ่ ยกเว้นในกระดูกโคนลิ้น (Hyoid bone) ซึ่งเป็นกระดูกที่ไม่ติดต่อกับกระดูกชิ้นอื่นๆโดยตรง แต่จะยึดไว้ในบริเวณส่วนบนของคอหอยด้วยเอ็นและกล้ามเนื้อใกล้เคียง
กระดูกชิ้นที่ใหญ่ที่สุดในมนุษย์คือกระดูกต้นขา (Femur) ในขณะที่กระดูกชิ้นเล็กที่สุดคือกระดูกโกลน (Stapes) ซึ่งเป็นกระดูกของหูชั้นกลางชิ้นหนึ่ง

หน้าที่
โครงกระดูกมีหน้าที่ที่สำคัญหลายประการ ได้แก่
·         ค้ำจุนโครงสร้างของร่างกาย
·         เป็นที่ยึดเกาะของกล้ามเนื้อและเอ็นต่างๆ สำหรับการเคลื่อนไหว
·         ป้องกันอวัยวะภายในที่สำคัญ เช่นกะโหลกศีรษะที่ห่อหุ้มสมอง หรือซี่โครงป้องกันปอดและหัวใจจากการกระทบกระเทือน
·         เป็นแหล่งผลิตเม็ดเลือดที่สำคัญ
·         เป็นแหล่งเก็บสะสมแคลเซี่ยมที่สำคัญของร่างกาย โดยการควบคุมของฮอร์โมนและวิตามิน B3

ประเภทของโครงกระดูก
m.me/bonehealthcare

โครงกระดูกในมนุษย์สามารถแบ่งออกได้เป็นสองกลุ่มใหญ่ คือโครงกระดูกแกน (axial skeleton) และโครงกระดูกรยางค์ (appendicular skeleton)

โครงกระดูกแกน
โครงกระดูกแกนในผู้ใหญ่ประกอบด้วยกระดูกจำนวน 80 ชิ้น ซึ่งวางตัวในแนวแกนกลางของลำตัว ซึ่งได้แก่
·         กะโหลกศีรษะ (Skull) มีจำนวน 22 ชิ้น
·         กระดูกหู (Ear ossicles) จำนวน 6 ชิ้น
·         กระดูกโคนลิ้น (Hyoid bone) 1 ชิ้น
·         กระดูกสันหลัง (Vertebral column) จำนวน 26 ชิ้น
·         กระดูกซี่โครง (Ribs) จำนวน 24 ชิ้น
·         กระดูกอก (Sternum) 1 ชิ้น

โครงกระดูกรยางค์
โครงกระดูกรยางค์ในผู้ใหญ่จะมีทั้งหมด 126 ชิ้น ซึ่งจะอยู่ในส่วนแขนและขาของร่างกายเพื่อช่วยในการเคลื่อนไหว โดยจะแบ่งออกเป็น 6 ส่วน ได้แก่
·         กระดูกส่วนไหล่ (Shoulder girdle) 4 ชิ้น
·         กระดูกแขน (Bones of arms) 6 ชิ้น
·         กระดูกมือ (Bones of hands) จำนวน 54 ชิ้น
·         กระดูกเชิงกราน (Pelvic girdle) 2 ชิ้น
·         กระดูกขา (Bones of legs) 8 ชิ้น
·         กระดูกเท้า (Bones of feet) 52 ชิ้น

โรคที่เกี่ยวกับโครงกระดูก
โรคที่เกี่ยวกับโครงกระดูกจะส่งผลต่อความแข็งแรงและความสามารถในการเคลื่อนไหวของร่างกายโดยตรง ความผิดปกติของโครงกระดูกที่พบบ่อยคือกระดูกหัก ซึ่งเกิดจากการที่กระดูกได้รับแรงที่มากเกินไป ซึ่งอาจเป็นเพียงกระดูกที่หักอยู่ภายใน หรืออาจมีส่วนใดส่วนหนึ่งของกระดูกที่โผล่พ้นผิวหนังขึ้นมาก็ได้ในกรณีร้ายแรง นอกจากนี้ ภาวะกระดูกหักยังพบได้ง่ายในผู้ป่วยโรคกระดูกพรุน ซึ่งมักพบในผู้สูงอายุและสตรีวัยหมดประจำเดือน โรคของกระดูกที่จัดว่าร้ายแรง ได้แก่ เนื้องอกและมะเร็งของกระดูก ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการรักษาโดยการผ่าตัด นอกจากนี้ ภาวะข้ออักเสบ ยังส่งผลเสียต่อกระดูกในบริเวณข้อต่อ ทำให้ผู้ป่วยรู้สึกเจ็บปวดอย่างรุนแรงและเคลื่อนไหวลำบากอีกด้วย

โรคข้อและกระดูก มีอะไรบ้าง ป้องกันและรักษาอย่างไร
โรคข้อและกระดูก ความผิดปรกติของ ไขข้อ กระดูก มีอะไรบ้าง การป้องกันโรคข้อ การดูแลรักษา สาเหตุของโรคทางข้อ อาการของโรคข้อ เป็นโรคข้อกระดูก รักษาอย่างไร ต้องทำอย่างไร
ความรู้ทางการแพทย์เกี่ยวกับ ปวดข้อ ปวดขา ปวดเข่า ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ และโรคกระดูกและข้อ โรคข้อ คือ โรคที่เกิดจากสาเหตุของข้อต่อกระดูก หรือ กระดูก โรคนี้มักจะเกิดขึ้นกับผู้สุงอายุ ด้วยความเสื่อมของแคลเซี่ยมในร่างกายและการใช้งานข้อหรือกระดูกมายาวนาน ซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้หลายชนิด ได้แก่


m.me/bonehealthcare
1. โรคเกาต์
2. โรคข้อกระดูกสันหลังอักเสบ
3. โรคข้อเสื่อม
4. โรคข้อเข่าเสื่อม
5. โรครูมาตอยด์
6. โรคข้ออักเสบสะเก็ดเงิน
7. โรคข้ออักเสบติดเชื้อ


m.me/bonehealthcare
1. โรคกระดูกพรุน
2. กระดูกทับเส้น เส้นทับกระดูก
3. กระดูกเคลื่อนหรือหลุดออกจากข้อ
4. โรคกระดูกเสื่อม



m.me/bonehealthcare
1. โรคกล้ามเนื้ออักเสบ
2. โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง (ALS)
3. โรคกล้ามเนื้อหนีบเส้นประสาท
4. โรคกล้ามเนื้อลีบจากพันธุกรรม







m.me/bonehealthcare
คลิกที่รูปเพื่อรับข้อมูลเพิ่มเติม

m.me/bonehealthcare
คลิกที่รูปเพื่อรับข้อมูลเพิ่มเติม

m.me/bonehealthcare
คลิกที่รูปเพื่อรับข้อมูลเพิ่มเติม

https://www.facebook.com/dboonshopping/messages/
คลิกที่รูปเพื่อรับข้อมูลเพิ่มเติม

m.me/bonehealthcare
คลิกที่รูปเพื่อรับข้อมูลเพิ่มเติม

m.me/bonehealthcare
คลิกที่รูปเพื่อรับข้อมูลเพิ่มเติม

โรคกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือ

m.me/bonehealthcare
คลิกที่รูปเพื่อรับข้อมูลเพิ่มเติม
             โรคชิคุนกุนยา 
https://www.facebook.com/dboonshopping/messages/
คลิกที่รูปเพื่อรับข้อมูลเพิ่มเติม

 ภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำ


m.me/bonehealthcare
คลิกที่รูปเพื่อรับข้อมูลเพิ่มเติม

m.me/bonehealthcare
คลิกที่รูปเพื่อรับข้อมูลเพิ่มเติม

 
m.me/bonehealthcare
คลิกที่รูปเพื่อรับข้อมูลเพิ่มเติม

https://www.facebook.com/dboonshopping/messages/
คลิกที่รูปเพื่อรับข้อมูลเพิ่มเติม


·       โรคระบบข้อและกระดูก หมายถึง โรคที่เกี่ยวข้องกับความบกพร่องและความผิดปกติของระบบข้อและกระดูก โดยส่วนมากจะพบว่าอาการผิดปรกติ มีอาการเรื้อรัง โรคเกี่ยวกับข้อและกระดูก พบมากในกลุ่มคนน้ำหนักตัวมาก และกลุ่มผู้สูงอายุ โรคเกี่ยวกับข้อ เช่น โรคเกาต์ โรคข้อกระดูกสันหลังอักเสบ โรคข้อเสื่อม โรคข้อเข่าเสื่อม โรครูมาตอยด์ โรคข้ออักเสบสะเก็ดเงิน โรคข้ออักเสบติดเชื้อ ส่วนโรคเกี่ยวกับกระดูก เช่น โรคกระดูกพรุน โรคกระดูกทับเส้น  โรคเส้นทับกระดูก กระดูกเคลื่อนหรือหลุดออกจากข้อ โรคกระดูกเสื่อม เป็นต้น
·       สาเหตุของโรคเกี่ยวกับข้อและกระดูก
โรคของข้อและกระดูกมีสาเหตุ เกิดจากความผิดปรกติของกระดูก และข้อกระดูก ซึ่งความผิดปรกติของกระดูกและข้อ เกิดจาก การได้รับบาดเจ็บที่ข้อและกระดูก การทำงานหนักของข้อและกระดูก การติดเซื้อ การเสื่อมของข้อและกระดูกรวมถึงปัญหาจากการถ่ายทอดทางพันธุกรรม
สาเหตุจากการทำงาน
1. การเคลื่อนไหวร่างกายส่วนใดส่วนหนึ่งซ้ำๆ การออกแรงอย่างหนัก และการบิดอย่างแรงที่ข้อมือ
2. มือ และข้อมือมีการเคลื่อนไหวซ้ำๆ มีการออกแรงอย่างหนัก และการบิดอย่างแรงที่ข้อมือ
3. มีการกดทับบริเวณข้อ ข้อศอก และกล้ามเนื้อนานเกินไป
4. มีการอยู่ในท่าเดียวนานเกินไป
5. มีการใช้เข่า และการนั่งยองๆ นานเกินไป
6. มีการออกแรงซ้าๆ มีการทำงานหรืออยู่ในพื้นที่แรงสั่นสะเทือน
7. มีการบิดข้อ ข้อมือบ่อยครั้งกรรม

·       อาการของโรคข้อและกระดูก
อาการของโรคเกี่ยวกับข้อและกระดูก ผู้ป่วยจะมีอาการเจ็บ ปวด และอักเสบที่ข้อและกระดูก ซึ่งอาการมีความสัมพันธ์กับระบบประสาท เช่น โรคกล้ามเนื้อหนีบเส้นประสาท เป็นต้น
·       การรักษาโรคข้อและกระดูก
การรักษาโรคข้อและกระดูก จะรักษาตามอาการของโรคใช้ยาแก้อักเสบ การผ่าตัด อาการที่มีการเรื้อรัง ต้องใช้เวลาในการรักษา ซึ่งการรักษาที่ดีและเป็นการป้องกันการเกิดโรคข้อและกระดูก คือ การปรับพฤติกรรม ลดความเสี่ยงที่ทำให้ระบบข้อและกระดูกเสื่อม เร็วกว่าที่ควรจะเป็น

( โรคระบบข้อ กระดูก และกล้ามเนื้อ หมายถึง โรคที่เกี่ยวข้องกับความผิดปกติหรืออาการที่เกิดจากความบกพร่องของระบบข้อ กระดูก และระบบกล้ามเนื้อ เหตุใดโรคข้อเสื่อมจึงเกิดที่ข้อเข่ามากที่สุด ปัญหาความเสื่อมของกระดูกเพิ่มขึ้นตามวัยและพฤติกรรมการใช้ชีวิตประจำวันของเรา แม้อาการของโรคข้อเสื่อมจะเป็นผลมาจากวัยและการใช้งาน ข้อเสื่อม เป็นอาการที่เกิดจาก การเสื่อมสภาพของกระดูกอ่อนที่ฉาบผิวกระดูกข้อต่อ โรคข้อเข่าเสื่อมคือโรคที่เกิดจากการสึกกร่อนของกระดูกอ่อนผิวข้อ


#โรคในระบบข้อ #โรคเกาต์ #โรคข้อกระดูกสันหลังอักเสบ #โรคข้อเสื่อม #โรคข้อเข่าเสื่อม #โรครูมาตอยด์ #โรคข้ออักเสบสะเก็ดเงิน #โรคข้ออักเสบติดเชื้อ
#โรคในระบบกระดูก #โรคกระดูกพรุน #กระดูกทับเส้น – เส้นทับกระดูก #กระดูกเคลื่อนหรือหลุดออกจากข้อ #โรคกระดูกเสื่อม
#โรคในระบบกล้ามเนื้อ #โรคกล้ามเนื้ออักเสบ #โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง (ALS) #โรคกล้ามเนื้อหนีบเส้นประสาท #โรคกล้ามเนื้อลีบจากพันธุกรรม




ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

โรคระบบกระดูกกล้ามเนื้อ

ติดต่อคลิ๊กที่นี้  ศูนย์ดูแลโรคเข่าเสื่อม เก๊าส์ กระดูกทับเส้นประสาท โรคระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ ⇉โรคกระดูกพรุน             เป็นภาวะที่ร่างกายขาดสารสำคัญชนิดหนึ่งที่เรียกว่า"แคลเซียม"ในกระดูกลดลง ร่วมกับความเสื่อมของเนื้อเยื่อที่ประกอบกันเป็นโครงสร้างภายในกระดูก มวลกระดูกหนาแน่นลอลงและเปราะบางแตกหักง่าย บริเวณที่พบการแตกหักของกระดูกได้แก่ ข้อมือ แขน ขา และสันหลัง           โรคนี้สามารถป้องกันได้โดยการมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่ดี เช่น การรับประทานอาหารที่ให้แคลเซียมสูง(ปลาเล็ก ปลาน้อย กุ้งแห้ง) ออกกำลังกายเป็นประจำหรืออย่างน้อยสัปดาร์ละ2-3ครั้ง ออกมารับแสงแดดอ่อนๆในตอนเช้าเป็นประจำ ไม่สูบบุหรี่ ไม่ทานสุราจัด เป็นต้น ⇨ ปรึกษาปัญหากระดูกและข้อคลิ๊กที่นี้  m.me/bonehealthcare สาเหตุ            กระดูกประกอบไปด้วยเนื้อเยื่อคอลลเจน โปรตีน และแคลเซียม โดยมีแคล เซียมฟอตเฟสเป็นตัวทำให้กระดูกแข็งแรง ทนต่อแรงดึงรั้ง           กระดูกมีการสลายตัวอยู่ตลอดเวลา กล่าวคือในขณะมีการสร้างกระดูกก็มีการสลายแคลเซียมในเนื้อกระดูกออกมาในเลือดและถูกขับออกทางปัส

อาการปวด ที่เป็นง่ายแต่หายยาก

เริ่มต้นดูแลตัวเองเสียแต่วันนี้ ก่อนที่จะสายเกินไป อาการที่เป็นง่าย แต่หายยาก ปัจจัยเสี่ยงอาการปวดร้าวสะโพกลงขา 1.  หมอนรองกระดูกเคลื่อน และ หมอนรองกระดูกแตกทับเส้นประสาท  เป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุดของอาการปวด สะโพกร้าวลงขา ซึ่งมีอาการปวดที่รุนแรงมาก 2. กระดูกสันหลังที่มีเส้นประสาทไขสันหลังตีบ หรือแคบลง พบมากในผู้สูงอายุ เนื่องจากในขณะที่เรามีอายุเพิ่ม มากขึ้น  กระดูกจะมีการเสื่อมสภาพตามวัย ทำให้กระดูกตีบ และแคบ สร้างแรงกดดันต่อเส้นประสาท  เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิด อาการปวดสะโพกร้าวลงขา โดยเฉพาะเมื่อนั่งนานๆ นั่งหลังค่อมหลังงอ จะทำให้แรงกด ต่อเส้นประสาทเพิ่มขึ้นมา 3.  กระดูกสันหลังเคลื่อน  (Spondylolisthesis) กระดูกสันหลังชิ้นใดชิ้นหนึ่งมีการเคลื่อนไปข้างหน้า หรือข้างหลัง มากกว่ากระดูกสันหลังชิ้นอื่นๆ ทำให้เกิดความดันในเส้นประสาท 4.   เส้นประสาทมีการยึด หรือรั้ง 5. กล้ามเนื้อสะโพกหนีบเส้นประสาท (Piriformis syndrome) หรือ กลุ่มอาการ กล้ามเนื้อสะโพกอักเสบเรื้อรัง ทำให้เส้นประสาทติดอยู่ลึงลงไปในสะโพก ทำให้เกิดอาการปวด 6.  สาเหตุอื่นๆ เช่น  ข้อเข่าเสื่อม  กระดูกหักที่เกิ